กระบวนการและปัจจัยความสำเร็จของการจัดการความรู้ในองค์กร: ศึกษากรณี ศูนย์สุขภาพจิตเขต กรมสุขภาพจิต
นางธิดา จุลินทร
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม)
พ.ศ. 2549
1. เหตุผลที่เลือกงานวิจัยนี้
1. เป็นวิทยานิพนธ์ที่ศึกษาการใช้กระบวนการจัดการความรู้ในองค์กร
2. กรมสุขภาพจิตทำแล้วประสบผลสำเร็จในการกระบวนการจัดการความรู้
3. ความสำเร็จนั้นน่าจะมาจากการที่มีบุคลากรจำนวนน้อย แต่สามารถทำให้เกิดขึ้น
จริงได้
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษากระบวนการจัดการความรู้ศูนย์สุขภาพจิตเขต
2. เพื่อศึกษาปัจจัยความสำเร็จ (Key Success Factors) ในการจัดการความรู้ศูนย์
สุขภาพจิตเขต
3. เพื่อศึกษาปัญหาและข้อจำกัดการจัดการความรู้ของศูนย์สุขภาพจิตเขต
3. ทฤษฎีและแนวคิด
1.แนวคิดเกี่ยวกับความรู้
1.1 ความหมายของความรู้
1.2 องค์ประกอบของความรู้
1.3 กระบวนการของความรู้
2.แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้
2.1 ความหมายของการจัดการความรู้
2.2 กระบวนการจัดการความรู้
2.3 เป้าหมายและประโยชน์ของการจัดการความรู้
2.4 หลักการจัดการความรู้
2.5 กลยุทธ์ในการจัดการความรู้
2.6 ปัจจัยส่งเสริมความสำเร็จของการจัดการความรู้
2.7 เครื่องมือในการจัดการความรู้
2.8 การวัดผลการจัดการความรู้
กรอบแนวคิดในการวิจัย
สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบ
-กระบวนการจัดการความรู้
-ปัจจัยความสำเร็จ
-ปัญหาและข้อจำกัดในการดำเนินการ
จัดการความรู้ในศูนย์สุขภาพจิตเขต
การศึกษาแนวคิดทฤษฎี
และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ
การจัดการความรู้ในองค์กร วิเคราะห์และ
รวบรวมข้อมูล
ขั้นตอนการจัดการความรู้
1.การบ่งชี้หรือระบุความรู้
กระบวนการและปัจจัยความสำเร็จ
ของการจัดการความรู้2.การสร้างและแสวงหาความรู้
3.การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ
4.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
5.การเข้าถึงความรู้
6.การเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้
7.การติดตามผล
ปัจจัยความสำเร็จในการจัดการความรู้
ปัญหาและข้อจำกัดในการจัดการ
ความรู้
4. เครื่องมือและสถิติที่ใช้ในการวิจัย
เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยผู้ศึกษาค้นคว้าจาก ตำรา เอกสาร วารสาร บทความ สื่อสิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวข้อง และรวบรวมข้อมูลภาคสนาม โดยใช้วิธีทำแบบสอบถามและสัมภาษณ์บุคลากรในกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในองค์กรจำนวน 15 คน
วิธีการเก็บข้อมูล
1. ข้อมูลทุติยภูมิ ได้จากการศึกษาค้นคว้า ทบทวน และเรียบเรียงจากหนังสือ ตำราวิชาการ งานวิจัย บทความวารสาร และเอกสารวิชาการพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้ของกรมสุขภาพจิต
2. ข้อมูลปฐมภูมิ ได้จากแบบสอบถามและการสัมภาษณ์บุคลากรขององค์กรที่ศึกษา นำข้อมูลมาจัดหมวดหมู่และวิเคราะห์ตามหลักตรรกศาสตร์ และใช้สถิติอย่างง่ายในการจำแนก คือ การหาค่าร้อยละ
5. ผลการวิจัย
1. กระบวนการจัดการความรู้ในศูนย์สุขภาพจิตเขต 3 องค์กร พบว่า การจัดตั้ง
ทีมงานเป็นบุคลากรจากกลุ่มงานวิชาการสุขภาพจิตและจิตรเวช ในส่วนของ
ขั้นตอนการจัดการความรู้นั้น
2. ศูนย์สุขภาพจิต B ดำเนินการได้ครบทั้ง 7 ขั้นตอน คือ การบ่งชี้,การสร้างและ
แสวงหาความรู้, การจัดความรู้ให้เป็นระบบ, การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้,
การเข้าถึงความรู้, การเรียนรู้และนำไปใช้ และ การติดตามประเมินผล
3. ศูนย์สุขภาพจิต Q ดำเนินการได้ 6 ขั้นตอน ขาดขั้นตอนที่ 7 คือ การติดตาม
ประเมินผล
4. ศูนย์สุขภาพจิต X ดำเนินการได้เพียง 5 ขั้นตอน ขาดขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่
7 คือ การบ่งชี้ความรู้และการติดตามประเมินผล
ปัจจัยที่ทำให้ประสบผลสำเร็จ
1. ผู้นำให้ความสำคัญและให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
2. บุคลากรให้ความสำคัญให้ความร่วมือในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและวัคถุประสงค์
3. เทคโนโลยีและวัฒนธรรมองค์กรเอื้อให้เกิดการการจัดการความรู้
ปัญหาและอุปสรรค
1. บุคลากรมีน้อย ภาระงานมีมาก
2. เวลาในการดำเนินการมีน้อย
3. บุคลากรบางคนขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะของการจัดการความรู้
4. บุคลากรบางคนไม่เห็นประโยชน์ของการจัดการความรู้
Question
1. จากงานวิจัยนี้ท่านคิดว่าองค์กรแบบใดจึงจะสามารถประสบผลสำเร็จได้
เหมือนกับศูนย์สุขภาพจิตเขต
2. ท่านคิดว่าขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ที่ไม่ประสบผลสำเร็จจะแก้ไข
ได้อย่างไร
3. กระบวนการจัดการความรู้กับขนาดขององค์กรมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
4. อะไรมีส่วนช่วยให้ทีมประสบความสำเร็จในกระบวนการจัดการความรู้
5. ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจะแก้ไขด้วยวิธีใด
นางธิดา จุลินทร
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม)
พ.ศ. 2549
1. เหตุผลที่เลือกงานวิจัยนี้
1. เป็นวิทยานิพนธ์ที่ศึกษาการใช้กระบวนการจัดการความรู้ในองค์กร
2. กรมสุขภาพจิตทำแล้วประสบผลสำเร็จในการกระบวนการจัดการความรู้
3. ความสำเร็จนั้นน่าจะมาจากการที่มีบุคลากรจำนวนน้อย แต่สามารถทำให้เกิดขึ้น
จริงได้
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษากระบวนการจัดการความรู้ศูนย์สุขภาพจิตเขต
2. เพื่อศึกษาปัจจัยความสำเร็จ (Key Success Factors) ในการจัดการความรู้ศูนย์
สุขภาพจิตเขต
3. เพื่อศึกษาปัญหาและข้อจำกัดการจัดการความรู้ของศูนย์สุขภาพจิตเขต
3. ทฤษฎีและแนวคิด
1.แนวคิดเกี่ยวกับความรู้
1.1 ความหมายของความรู้
1.2 องค์ประกอบของความรู้
1.3 กระบวนการของความรู้
2.แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้
2.1 ความหมายของการจัดการความรู้
2.2 กระบวนการจัดการความรู้
2.3 เป้าหมายและประโยชน์ของการจัดการความรู้
2.4 หลักการจัดการความรู้
2.5 กลยุทธ์ในการจัดการความรู้
2.6 ปัจจัยส่งเสริมความสำเร็จของการจัดการความรู้
2.7 เครื่องมือในการจัดการความรู้
2.8 การวัดผลการจัดการความรู้
กรอบแนวคิดในการวิจัย
สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบ
-กระบวนการจัดการความรู้
-ปัจจัยความสำเร็จ
-ปัญหาและข้อจำกัดในการดำเนินการ
จัดการความรู้ในศูนย์สุขภาพจิตเขต
การศึกษาแนวคิดทฤษฎี
และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ
การจัดการความรู้ในองค์กร วิเคราะห์และ
รวบรวมข้อมูล
ขั้นตอนการจัดการความรู้
1.การบ่งชี้หรือระบุความรู้
กระบวนการและปัจจัยความสำเร็จ
ของการจัดการความรู้2.การสร้างและแสวงหาความรู้
3.การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ
4.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
5.การเข้าถึงความรู้
6.การเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้
7.การติดตามผล
ปัจจัยความสำเร็จในการจัดการความรู้
ปัญหาและข้อจำกัดในการจัดการ
ความรู้
4. เครื่องมือและสถิติที่ใช้ในการวิจัย
เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยผู้ศึกษาค้นคว้าจาก ตำรา เอกสาร วารสาร บทความ สื่อสิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวข้อง และรวบรวมข้อมูลภาคสนาม โดยใช้วิธีทำแบบสอบถามและสัมภาษณ์บุคลากรในกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในองค์กรจำนวน 15 คน
วิธีการเก็บข้อมูล
1. ข้อมูลทุติยภูมิ ได้จากการศึกษาค้นคว้า ทบทวน และเรียบเรียงจากหนังสือ ตำราวิชาการ งานวิจัย บทความวารสาร และเอกสารวิชาการพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้ของกรมสุขภาพจิต
2. ข้อมูลปฐมภูมิ ได้จากแบบสอบถามและการสัมภาษณ์บุคลากรขององค์กรที่ศึกษา นำข้อมูลมาจัดหมวดหมู่และวิเคราะห์ตามหลักตรรกศาสตร์ และใช้สถิติอย่างง่ายในการจำแนก คือ การหาค่าร้อยละ
5. ผลการวิจัย
1. กระบวนการจัดการความรู้ในศูนย์สุขภาพจิตเขต 3 องค์กร พบว่า การจัดตั้ง
ทีมงานเป็นบุคลากรจากกลุ่มงานวิชาการสุขภาพจิตและจิตรเวช ในส่วนของ
ขั้นตอนการจัดการความรู้นั้น
2. ศูนย์สุขภาพจิต B ดำเนินการได้ครบทั้ง 7 ขั้นตอน คือ การบ่งชี้,การสร้างและ
แสวงหาความรู้, การจัดความรู้ให้เป็นระบบ, การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้,
การเข้าถึงความรู้, การเรียนรู้และนำไปใช้ และ การติดตามประเมินผล
3. ศูนย์สุขภาพจิต Q ดำเนินการได้ 6 ขั้นตอน ขาดขั้นตอนที่ 7 คือ การติดตาม
ประเมินผล
4. ศูนย์สุขภาพจิต X ดำเนินการได้เพียง 5 ขั้นตอน ขาดขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่
7 คือ การบ่งชี้ความรู้และการติดตามประเมินผล
ปัจจัยที่ทำให้ประสบผลสำเร็จ
1. ผู้นำให้ความสำคัญและให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
2. บุคลากรให้ความสำคัญให้ความร่วมือในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและวัคถุประสงค์
3. เทคโนโลยีและวัฒนธรรมองค์กรเอื้อให้เกิดการการจัดการความรู้
ปัญหาและอุปสรรค
1. บุคลากรมีน้อย ภาระงานมีมาก
2. เวลาในการดำเนินการมีน้อย
3. บุคลากรบางคนขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะของการจัดการความรู้
4. บุคลากรบางคนไม่เห็นประโยชน์ของการจัดการความรู้
Question
1. จากงานวิจัยนี้ท่านคิดว่าองค์กรแบบใดจึงจะสามารถประสบผลสำเร็จได้
เหมือนกับศูนย์สุขภาพจิตเขต
2. ท่านคิดว่าขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ที่ไม่ประสบผลสำเร็จจะแก้ไข
ได้อย่างไร
3. กระบวนการจัดการความรู้กับขนาดขององค์กรมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
4. อะไรมีส่วนช่วยให้ทีมประสบความสำเร็จในกระบวนการจัดการความรู้
5. ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจะแก้ไขด้วยวิธีใด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น